วันพฤหัสบดีที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2563

การเขียนโคลงงาน

 การเขียนโครงงาน โครงงานเป็นการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือหลายๆสิ่งที่อยากรู้คำตอบให้ลึกซึ้ง หรือเรียนรู้ในเรื่องนั้นๆให้มากขึ้น โดยใช้กระบวนการ วิธีการที่ศึกษาอย่างมีระบบ เป็นขั้นตอน มีการวางแผนในการศึกษาอย่างละเอียด ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุปที อ่านเพิ่มเติม




วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2563

 คอมพิวเตอร์กับการแก้ปัญหา 

         การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทำตามโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาทุกประการ ดังนั้นการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาช่วยสำหรับการแก้ปัญหา จึงต้องมีโปรแกรมสำหรับการแก้ปัญหานั้น เพื่อสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ ผู้ที่ทำการเขียนโปรแกรมจึงต้องทราบถึงวิธีการของการแก้ปัญหาที่ต้องการแก้ไขทุกขั้นตอน จากนั้นจึงทำการเรีอ่านเพิ่มเติม


การะบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก

การะบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก

 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ในการที่จะแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งได้นั้น สิ่งแรกที่ต้องทำคือทำความเข้าใจเกี่ยวกับถ้อยคำต่างๆ ในปัญหา แล้วแยกปัญหาให้ออกว่าอะไรเป็นสิ่งที่ต้องหา แล้วมีอะไรเป็นข้อมูลที่กำหนด และมีเงื่อนไขใดบ้าง หลังจากนั้นจึงพิจารณาว่าข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดให้นั้นเพียงพอที่จะหาคำตอบของปัญหาได้หรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอ ให้หาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อที่จะสามารถแก้ไขปัญหาได้ ดังนี้

                1.1  การระบุข้อมูลเข้า  ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมากับปัญหา
                1.2  การระบุข้อมูลออก  ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบหรือผลลัพธ์
                1.3  การกำหนดวิธีประมวลผล  ได้แก่ การพิจารณาวิธีหาคำตอบ หรือผลลัพธ์ อ่านเพิ่มเติม

การออกแบบขั้นตอนวิธี

    การออกแบบขั้นตอนวิธี

       สำหรับการออกแบบในการเรียนรู้เบื้องต้น จะให้นักเรียนเรียนรู้เฉพาะการออกแบบการแก้ปัญหาเท่านั้น นั่นคือไม่รวมถึงการออกแบบหน้าจอ (User interface) หรือออกแบบฐานข้อมูล (Database) หรืออื่นๆ วิธีการออกแบบการแก้ปัญหานั้น นิยมทำอยู่ 3 ลักษณะ ได้แก่

 การเขียนขั้นตอนวิธี (Algorithm)


การเขียนผังงาน (Flowchart)


 การเขียนรหัสลำลอง (Pseudo code)

   ในที่นี้จะกำหนดให้นักเรียนเรียนรู้เฉพาะการเขียนผังงานเท่านั้นซึ่งเป็นวิธีที่นิยมมากที่สุด เพราะมองเห็นขั้นตอนและทิศทางการทำงานของโปรแกรมได้ง่ายกว่าวิธีอื่นๆ 

 นักเรียนพิจารณาผังงานของโปรแกรมหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า ต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม


การทำซ้ำ

 การทำซ้ำ

การทำซ้ำ

      ในการทำงานบางครั้งย่อมมีการทำงานรูปแบบเดียวกันซ้ำๆ หลายรอบ ซึ่งลักษณะการทำซ้ำ เช่น การทำซ้ำในรายการ การทำซ้ำด้วยเงื่อนไข

การทำซ้ำในรายการ

การทำซ้ำในรายการจะพิจารณาข้อมูลในรายการทีละตัวจนครบทุกรายการโดยมีรูปแบบการพิจารณาคือ

1. ให้ตัวแปร x แทนข้อมูลท่ีพิจารณาอยู่

2. ประมวลผลตัวแปร x

ตัวอย่างการทำซ้ำในรายการ

      ถ้านักเรียนมีเงิน M บาท และมีรายการ อ่านเพิ่มเติม


การจัดเรียงและการหาข้อมูล

   การจัดเรียงและการหาข้อมูล

     การจัดเรียงหรือเรียงลำดับข้อมูล(Sorting) คือ การจัดเรียงข้อมูลให้เรียงลำดับตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ โดยอาจเรียงจากน้อยไปมาก หรือค่ามากไปน้อยก็ได้ การเรียงลำดับข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ จะแบ่งเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ 

  การจัดเรียงลำดับข้อมูลภายใน (Internal sorting) 

ใช้กับข้อมูลที่มีจำนวนไม่ใหญ่กว่าเนื้อที่ในหน่วยความจำ (main memory)

ไม่ต้องใช้หน่วยความจำสำรอง เช่น ดิสก์, เทป เป็นต้น

การเรียงลำดับข้อมูลภายนอก (External sorting)

ใช้กับข้อมูลที่มีจำนวนใหญ่เกินกว่าที่จะเก็บลงในหน่วยความจำได้หมดภายในครั้งเดียว

จะใช้หน่วยความจำภายนอก เช่น  ดิสก์, เทป สำหรับเก็บข้อมูลบางส่วนที่ได้รับการเรียงลำดับข้อมูลแล้ว แล้วจึงค่อยจัดการเรียงลำดับข้อมูลในส่วนต่อ่านเพิ่มเติม


โครงงานถังขยะ 23